Processed Lime (Powdered Lime)

Processed Lime (Powdered Lime)

โครงการศึกษาและจัดทําแบบอยางการลงทุนเพื่อเผยแพรผานเครือขายInternet

PROCESSED LIME (POWDERED LIME)

Summary for Investors

Powdered lime manufacturing is another industry with high potential for growth. For lime is a significant seasoning used in a large number of Thai food and beverages. With abundant limes during their season, making powdered lime for use during the non-season period is definitely fruitful as the non-season period when limes are hard to find and have expensive prices is as long as 7 months. Powdered lime market is quite broad, covering both general consumers and processed food factories that produce such items as instant noodle seasoning, seasoning powder, and food seasoning in various forms. Besides, it can be exported, especially to Thailand.s neighboring countries where food and climate is similar to Thailand, and so is the period when fresh limes are out of season. The U.S. and European markets, on the contrary, demand powdered lime for lime beverages making.

There is only one powdered lime manufacturer currently . Food mixes Group Co., Ltd., which also produces other powdered beverages; e.g., pine apple, grape, guava, and lichee, etc.

Channels of distribution used are supermarkets and convenient stores. The price is around Baht 12 for a 10-gram sizing. Direct selling to processed food factories is at Baht 120-130 per kilogram.

Manufacturing and investment costs around Baht 17.5 million for a factory with 160 ton-per-year capacity. 80% of investment is on fixed asset, mostly on factory and machinery; including Colloid Mill and Spray Dryer, which have high prices. The rest 20% is for operation, of which more than half is manufacturing current cost; e.g., utility and packaging. Raw material cost is relatively low as the limes is purchased during the season when they are cheap and over-supplied. The price is around Baht 25-35 for 100 limes. Manufacturing 1 kilogram of powdered lime costs approximately Baht 200 (excluding marketing and packaging costs), but this amount of limes can be sold for Baht 800 per kilogram.

The investment capital case of 17.5 Million Baht., with the production and sales volume of 162 ton per month and unit price is ~ 130 Baht / Kg, the net profit on sales is ~ 10 %, Within 5 years of investment which can increase production and sale volume ~ 10% in each year, the internal rate of return (IRR) is expected ~ 3.11 %

Any interested persons can consult and ask for production techniques from Biological Science Division, Department of Science Service, which has done research and development on powdered lime, at phone number 0-2201-7180. For food registration, please contact the Food and Drugs Administration office at phone number 0-2590-7179.

มะนาวแปรรูป

(มะนาวผง)

บทสรุปสําหรับนักลงทุน

การผลิตมะนาวผงเปนอุตสาหกรรมชนิดหนึ่งซึ่งมีศักยภาพสูงเนื่องจากมะนาวเปนอาหารหรือสิ่งปรุงรสตัวสําคัญในอาหารไทยหลายประเภทรวมทั้งเครื่องดื่มหลายชนิดการผลิตมะนาวผงจากมะนาวที่มีอยูอยางมากมายเพื่อทดแทนมะนาวนอกฤดูกาลนั้นยอมสามารถสรางมูลคาเพิ่มใหแก ผูผลิตมะนาวผงไดอยางแนนอนเพราะชวงที่มะนาวขาดแคลนตลาดและมีราคาแพงนั้นมีถึง7 เดือนในรอบหนึ่งป สําหรับตลาดซึ่งรองรับผลิตภัณฑมะนาวผงนั้นก็คอนขางกวางโดยมีทั้งในกลุมผูบริโภคทั่วไปและกลุมโรงงานอุตสาหกรรมที่ผลิตอาหารแปรรูปเชนเครื่องปรุงบะหมี่กึ่งสําเร็จรูปเครื่องปรุงอาหารและผงปรุงรสชนิดตางๆนอกจากนี้ยังสามารถสงออกไปยังตลาดตางประเทศโดยเฉพาะกลุมประเทศเพื่อนบานซึ่งมีรูปแบบของอาหารและสภาพภูมิอากาศคลายคลึงกับประเทศไทยดังนั้นยอมมีชวงขาดแคลนมะนาวสดในเวลาเดียวกันสวนตลาดในอเมริกาและยุโรปนั้นความตองการมะนาวผงจะอยูในรูปของเครื่องดื่มจากมะนาวเปนสวนใหญปจจุบันมีผูผลิตมะนาวผงเพียงรายเดียวเทานั้นคือบริษัทฟูดมิกเซสกรุปโดยทําการผลิตมะนาวผงรวมกับการผลิตเครื่องดื่มผงชนิดอื่นๆเชนสัปปะรดองุนฝรั่งลิ้นจี่เปนตนโดยจําหนายทั้งผานชองทางซูเปอรมารเก็ตและConvenience Store ทั่วไปในราคาประมาณ12 บาทในขนาด10 กรัมและการจําหนายตรงเขาสูโรงงานแปรรูปอาหารในราคากิโลกรัมละ120.130 บาท

ดานการผลิตและการลงทุนนั้นใชเงินลงทุนประมาณ17.5 ลานบาทสําหรับโรงงานที่มีกําลังการผลิตประมาณ160 ตัน/ ป โดยเงินลงทุนหลักเปนดานทรัพยสินถาวรถึง80 % ซึ่งเปนคาโรงงานและเครื่องจักรเปนสวนใหญ ไดแกเครื่องบดผสมอาหารเหลว(Colloid Mill) และเครื่องทําอาหารแหงแบบพนฝอย(Spray dryer) ซึ่งมีราคาคอนขางสูงสวนคาใชจายในการดําเนินการผลิตประมาณ20 % นั้นสวนใหญกวาครึ่งมักเปนคาโสหุยในการดำเนินการผลิตไดแกคาสาธารณูปโภคและคาหีบหอสวนคาวัตถุดิบนั้นเปนสัดสวนที่คอนขางนอยเนื่องจากเปนการใชมะนาวในฤดูกาลที่มีราคาถูกและลนตลาดซึ่งมีราคาเพียงประมาณ25 .35 บาทตอมะนาว100 ผล

ณการลงทุนเริ่มตน17.5 ลานบาทถาสามารถจําหนายมะนาวผงไดประมาณ162 ตัน/ป และขายไดเพิ่มขึ้นปีละ10% ณระดับราคาจําหนาย130 บาท/กิโลกรัมคาดการณกําไรเฉลี่ยในการจําหนายมะนาวผงอยู ณระดับ10% ตลอดอายุโครงการ7 ป จะไดรับผลตอบแทนจากการลงทุน3.11%

ผูสนใจที่ตองการผลิตมะนาวผงสามารถปรึกษาขอมูลดานเทคนิคในการผลิตได้ที่กองวิทยาศาสตรชีวภาพกรมวิทยาศาสตรบริการโทร0.2201.7180 ซึ่งเปนหนวยงานที่ไดทําการทดลองคนควาและวิจัยการผลิตมะนาวผงเพื่อเผยแพรใหแกบุคคลทั่วไปสวนดานการขึ้นทะเบียนอาหารนั้นสามารถติดตอไดที่สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาโทร. 0-2590-7179

1. ขอมูลทั่วไปของสินคา

มะนาวเปนสินคาทางการเกษตรซึ่งจะออกผลตามฤดูกาลในชวงเดือนกรกฎาคม-พฤศจิกายนเทานั้นทําใหในชวงฤดูรอนระหวางเดือนมีนาคม-เมษายนจะไมมีผลผลิตมะนาวออกมาขณะที่ระดับความตองการบริโภคมะนาวโดยเฉพาะในประเทศไทยมีอยูอยางตอเนื่องทั้งป สงผลใหเกิดความไมสมดุลระหวางความสามารถในการตอบสนองและปริมาณความตองการกลาวคือในชวงเดือนกรกฎาคม-พฤศจิกายนผลผลิตมะนาวจะมีปริมาณมากลนตลาดและมีระดับราคาตํ่าแตในชวงเดือนมีนาคม-เมษายนจะเปนชวงที่ประสบภาวะการขาดแคลนมะนาวสงผลใหระดับราคามะนาวแพงขึ้นบางครั้งสูงถึงลูกละ5-8 บาทลักษณะปญหาดังกลาวจะเกิดขึ้นเหมือนกันทุกปเปนเหตุใหหนวยงานตางๆไดพยายามคิดคนหาวิธีการแกไขภาวะการขาดแคลนมะนาวโดยการแปรรูปมะนาวในชวงผลผลิตลนตลาดเพื่อยืดอายุการเก็บรักษามะนาวใหสามารถนํามาบริโภคในชวงผลผลิตขาดแคลนได เชนมะนาวดองแยมมะนาวเปลือกมะนาวแชอิ่มเปลือกมะนาวเชื่อมเปลือกมะนาวปรุงรสเปนตนอยางไรก็ตามมะนาวแปรรูปขางตนไมสามารถทดแทนมะนาวไดอยางสมบูรณ เนื่องจากวัตถุประสงคหลักของการบริโภคมะนาวคือตองการความเปรี้ยวจากนํ้ามะนาวในการเพิ่มรสชาดของอาหารตางๆ

ดังนั้นการแปรรูปมะนาวอีกวิธีหนึ่งที่สามารถทดแทนการใชมะนาวไดอยางสมบูรณกวารูปแบบอื่นๆคือมะนาวผงซึ่งเปนการแปรรูปโดยการเปลี่ยนรูปของนํ้ามะนาวใหกลายเปนผงโดยยังคงสามารถเก็บรักษาคุณสมบัติเดิมของนํ้ามะนาวไวได เมื่อตองการใชเพียงแตนํามาผสมกับนํ้าก็จะคืนรูปมีกลิ่นและรสที่ใกลเคียงกับมะนาวสดทั้งนี้สามารถพิจารณารายละเอียดของการลงทุนการผลิตมะนาวแปรรูปชนิดผงไดดังตอไปนี้

2. ดานการตลาด

  • ภาวะตลาดทั่วไป

จากปญหาความไมสมดุลระหวางระดับความตองการบริโภคและความสามารถในการตอบสนองของมะนาวซึ่งจะขึ้นอยูกับฤดูกาลทำใหผลิตภัณฑมะนาวผงซึ่งใชทดแทนนํ้ามะนาวสดมีโอกาสทางการตลาดมากขึ้นโดยการนําผลผลิตมะนาวในชวงที่มีออกสูตลาดเปนปริมาณมากเกินกวาความต้องการและมีระดับราคาตํ่านํามาแปรรูปเปนมะนาวผงเพื่อเก็บไวจําหนายในชวงนอกฤดูกาลที่เกิดปญหาการขาดแคลนมะนาวและมีระดับราคาแพงมากทั้งนี้สามารถจําหนายใหแก กลุมผู้บริโภคทั่วไปโดยเฉพาะในกลุมแมบานและรานอาหารตางๆรวมถึงโรงงานอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปโดยเฉพาะผูผลิตบะหมี่กึ่งสําเร็จรูปซึ่งจะมีสวนประกอบของเครื่องปรุงรสตางๆ

อยางไรก็ตามในกลุมตลาดผูบริโภคทั่วไปมักจะสามารถจําหนายไดในชวงฤดูกาลที่ขาดแคลนมะนาวเท่านั้นขณะที่กลุมตลาดโรงงานผูผลิตอาหารแปรรูปจะสามารถจําหนายไดโดยตลอดป ในลักษณะของการเปนSupplier วัตถุดิบในการผลิตสินคาใหแกโรงงานดังกลาวซึ่งมีความจําเปนตองใชมะนาวแปรรูปตลอดทั้งป

การผลิตมะนาวแปรรูปชนิดผงเพื่อทดแทนมะนาวสดนอกเหนือจากกลุมตลาดภายในประเทศแลวยังสามารถขยายตลาดไปยังตางประเทศโดยเฉพาะในกลุมประเทศเพื่อนบานไดอีกดวยเนื่องจากมีพฤติกรรมการบริโภคลักษณะภูมิอากาศฤดูกาลการเพาะปลูกและพื้นฐานทางการเกษตรกรรมที่ใกลเคียงกับประเทศไทยแตระดับการพัฒนาอุตสาหกรรมยังตํ่ากวาไทยดังนั้นจึงเปนโอกาสใหสามารถนําผลผลิตมะนาวผงเขาไปจำหนายนอกฤดูกาลได เชนเดียวกับตลาดในประเทศไทย

นอกจากการผลิตมะนาวผงเพื่อทดแทนนํ้ามะนาวสดแลวยังสามารถทําการผลิตเพื่อจําหนายในลักษณะของเครื่องดื่มมะนาวผงในลักษณะนํ้าผลไมพรอมชงอีกประเภทหนึ่งไดเพื่อเพิ่มกลุมตลาดใหกวางขวางมากยิ่งขึ้นหรืออาจมีการประยุกตใชกับผลผลิตผลไมชนิดอื่นๆเปนนํ้าผลไมรวมชนิดผงได

ดังนั้นจะเห็นไดวาโอกาสทางการตลาดของมะนาวแปรรูปชนิดผงมีอยูคอนขางมากทั้งภายในประเทศและตางประเทศและจัดวาเปนผลิตภัณฑรูปแบบใหม ซึ่งผูเริ่มทําตลาดกอนจะเปนผู้ที่ค่อนขางไดเปรียบในการครอบครองสวนแบงทางการตลาดสวนใหญไดอยางไรก็ตามจําเปนตองอาศัยการประชาสัมพันธและการทําตลาดที่มีประสิทธิภาพดวยโดยผานทางชองทางการจําหนายหลายๆชองทางเมื่อพิจารณาจากปริมาณนําเขา-สงออกสินคามะนาวแปรรูป1ตามHs code : 007910009, 2008300002 ในชวงเดือนมกราคม-กรกฎาคม2543 มีมูลค่าการนําเขา3.9 ลานบาทและป 2544 (ในชวงเวลาเดียวกัน) มีมูลคาการนําเขา206.0 ลานบาท(สวนใหญนําเข้าจากจีนสวิตเซอรแลนด อังกฤษและออสเตรีย) และมีมูลคาการสงออกในชวงเดือนมกราคม-กรกฎาคม2543 และป 2544 มีมูลคา3.6 ลานบาทและ330.0 ลานบาทตามลําดับโดยประเทศที่เปนตลาดหลักไดแก สหรัฐอเมริกาแคนาดาและFrench Polynesia(TAHITI) ซึ่งเมื่อพิจารณาการขยายตัวดานการสงออกมะนาวแปรรูปของไทยซึ่งขยายตัวเพิ่มขึ้นถึง91 เทาตัวจึงเปนแนวโนมที่ดีสําหรับผูประกอบการไทยในการขยายตลาดไปยังต่างประเทศได้

  • ผูผลิต

จากขอมูลกรมโรงงานอุตสาหกรรมและการสํารวจในชวงเดือนตุลาคม2544 มีผูผลิตมะนาวแปรรูปชนิดผงในระดับอุตสาหกรรมเพียงรายเดียวคือบริษัทฟูดมิกเซสกรุปจํากัดโดยทําการผลิตมะนาวแปรรูปชนิดผงในรูปของเครื่องดื่มมะนาวผง รวมกับผลไมอื่นๆเชนสมสับปะรดองุนฝรั่งลิ้นจี่และเครื่องปรุงชนิดผงเปนตน

นอกจากนี้ได้มีหน่วยงานที่ทําการศึกษาวิธีการผลิตมะนาวผงเพื่อเป็นการเผยแพร่ให้กับผู้ประกอบการที่สนใจคือกองวิทยาศาสตร์ชีวภาพกรมวิทยาศาสตร์บริการ Tel : 0-2201-7180 Fax: 0-2201-7184

  • ชองทางการจําหนายและระดับราคา

ชองทางการตลาดหรือจัดจำหนายสามารถทําไดหลายชองทางขึ้นกับกลุมตลาดเปาหมายดังนี้

(1)กลุมผูบริโภคทั่วไปควรวางจําหนายในซูเปอรมารเก็ตตามหางสรรพสินคาทั่วไปหรือคอนวีเนี่ยนสโตร (รานสะดวกซื้อ) โดยในชวงแรกตองมีการประชาสัมพันธ ณจุดขายนั้นๆเพื่อแนะนําผลิตภัณฑใหแกผู้บริโภคไดรับทราบวาเปนผลิตภัณฑใดลักษณะและวิธีการบริโภคซึ่งในการจําหนายใหกับกลุมผูบริโภคทั่วไปจะบรรจุในซองขนาดเล็กประมาณ10 กรัมและจําหนายในราคาซองละ12 บาทโดยเมื่อนํามาละลายจะไดนํ้ามะนาว10 ออนซ

(2)กลุมโรงงานอุตสาหกรรมอาหารแปรรูป(ผูผลิตบะหมี่กึ่งสําเร็จรูปอาหารอื่นๆกึ่งสําเร็จรูป) การทําการจําหนายในลักษณะขายตรงเขาสูโรงงานโดยการเขาไปเสนอสินคาใหแกโรงงานตางๆเพื่อลดกระบวนการผลิตในสวนของเครื่องปรุงรสชนิดผงที่เป็นสวนประกอบในผลิตภัณฑดังกลาวของผูผลิตอาหารกึ่งสําเร็จรูปในการจําหนายในปริมาณมากราคาจําหนายประมาณกิโลกรัมละ120-130 บาททั้งนี้ในชวงของการออกผลิตภัณฑใหม สามารถทดลองตลาดและแนะนําผลิตภัณฑในเบื้องตนโดยการออกรานแสดงสินคาที่เกี่ยวของกับอาหารที่จัดขึ้นโดยหนวยงานตางๆเนื่องจากจะเปนงานที่รวบรวมบุคลากรจากภาคธุรกิจตางๆทั้งบุคคลทั่วไปในการทําความรูจักกับผลิตภัณฑอาหารตางๆและผูประกอบการสาขาตางๆอันเปนโอกาสในการติดตอดําเนินธุรกิจรวมกันตอไป

3. ดานการผลิต

  • วัตถุดิบในการผลิต

วัตถุดิบที่ใชในการผลิตมะนาวผงไดแก นํ้ามะนาวสดและสารมอลโตเดกซตรินซึ่งชวยในการเพิ่มปริมาณผลผลิตมะนาวผงและชวยใหมีการกระจายตัวของนํ้ามะนาวในกระบวนการผลิตขั้นการอบแหงทําใหมะนาวผงเปนผงดีไมชื้นเหนียวจับตัวกันเปนกอนทั้งนี้มะนาวสดที่นํามาใชคั้นนํ้าสามารถหาซื้อไดตามทองตลาดทั่วไปโดยเฉพาะในฤดูกาลที่มีผลผลิตเปนจํานวนมากหรืออาจซื้อตรงจากสวนของเกษตรกรโดยระดับราคาของมะนาวประมาณ25-35 บาทตอมะนาว100 ผลสวนสารมอลโตเดกซตรินสามารถหาซื้อได ตามบริษัทผูจัดจําหนายสารเคมีสําหรับผลิตภัณฑอาหารโดยมีราคาประมาณกิโลกรัมละ40 บาท

  • เครื่องจักรและอุปกรณที่ใชในการผลิต

ในการผลิตมะนาวผงมีการใชเครื่องมือสําคัญๆคือเครื่องบดผสมอาหารเหลว(colloid mill) และเครื่องทําอาหารแหงแบบพนฝอย(spray dryer) แตทั้งนี้อาจใชเครื่องมือดานการบรรจุเชนเครื่องซีลดปดปากถุงเป็นต้น

  • ขั้นตอนและกระบวนการผลิตมะนาวผง

1) เตรียมนํ้ามะนาวสดโดยใชมะนาวสดผิวสีเขียวลางนํ้าสะอาดผาครึ่งผลและคั้นนํ้ากรองผานตะแกรงเบอร 25 เพื่อแยกเมล็ดออก

2) อุนนํ้ามะนาวสดใหรอนอุณหภูมิถึง60 องศาเซลเซียสและเติมมอลโตเดกซตรินในปริมาณรอยละ20 ของนํ้าหนักมะนาวสด

3) ผานเขาเครื่องบดผสมอาหารเหลว(colloid mill) เพื่อใหสวนผสมเปนเนื้อเดียวกัน

4) นําเขาเครื่องทําอาหารแหงแบบพนฝอย(spray dryer)

5) ไดมะนาวผง

6)บรรจุในภาชนะปดสนิทและปองกันความชื้นได

  • เทคนิคการผลิต

การผลิตมะนาวผงโดยเครื่องทําอาหารแหงแบบพนฝอยถาควบคุมปจจัยการผลิตใหเหมาะสมจะไดผลิตภัณฑมะนาวผงที่มีคุณภาพดีซึ่งทําไดดังนี้

-วัตถุดิบที่ใชผลิตควรเปนนํ้ามะนาวสดเทานั้นคือมะนาวสดที่มีความเขมขน8-9 องศาบริกซที่คั้นสดหรือผานการแชแข็งที่ไดจากการรวบรวมนํ้ามะนาวในฤดูกาลที่มะนาวมีราคาถูกโดยหากใชความเขมขนที่ไมเหมาะสมเชนความเขมขน20-25 องศาบริกซ ที่ไดจากนํานํ้ามะนาวสดไปผานขั้นตอนการระเหยใหไดเปน
มะนาวเขมขนนั้นเมื่อนำมาทําเปนมะนาวผงผลิตภัณฑที่ไดจะมีลักษณะชื้นเหนียวติดคางในชองอบ(chamber) เปนจํานวนมาก

-ปริมาณมอลโตเดกซตรินที่เหมาะสมคือรอยละ20 ของนํ้าหนักมะนาวสดจะชวยเพิ่มปริมาณผลผลิตมะนาวผงไดและที่สําคัญจะชวยให มีการกระจายตัวของน้ำมะนาวในขณะอบแหงจะทําใหไดผลิตภัณฑที่ดีไมชื้นเหนียว

-การเติมมอลโตเดกซตรินรอยละ20 รวมกับการเติมแคลเซียมสเตียเรตรอยละ0.25 ซึ่งเปนสารที่มีคุณสมบัติในการปองกันการจัดตัวเปนกอน(anti-caking agents) ในกรณีที่มีการผลิตในปริมาณมากในระดับอุตสาหกรรมโดยจะชวยแกปญหาดานการเกาะตัวของผลิตภัณฑที่เนื่องมาจากการดูดความชื้นหรือการไดรับความร้อนสะสม

-สภาวะการผลิตมะนาวผงที่ดีโดยเครื่องทําอาหารแหงพนฝอยควรควบคุมใหอุณหภูมิกระแสลมรอนเขาประมาณ160 องศาเซลเซียสและอุณหภูมิกระแสลมรอนออก90 องศาเซลเซียสซึ่งจะไดมะนาวผงที่มีคุณภาพดีแตถาใชอุณหภูมิที่สูงกวานี้จะทําใหสูญเสียกลิ่นรส(offflavour) และผลิตภัณฑที่ไดมีสีคลํ้าหรือนํ้าตาลโดยผลิตภัณฑที่ดีควรมีสีครีมออน

-ในการผลิตในระดับอุตสาหกรรมการเก็บรักษาควรบรรจุในบรรจุภัณฑที่ป้องกันความชื้นและปองกันแสงไดเพื่อยืดอายุของผลิตภัณฑผลิตภัณฑที่ไดจากการนํานํ้ามะนาวสดมาแปรรูปเปนมะนาวผงรอยละ24 โดยวิธีการใชของมะนาวผงคือการเติมนํ้าสะอาด3 สวนตอมะนาวผง1 สวนจะทําใหไดกลิ่นรสที่ใกลเคียงกับมะนาวสด

  • บุคลากรและแรงงานที่เกี่ยวของในการผลิต

การผลิตมะนาวแปรรูปชนิดผงสวนสําคัญจะอยูที่เครื่องจักรที่ใชในการผลิตไมวาจะเปนการคั้นบดผสมหรืออบแหงแรงงานที่ใชจะอยูในสวนของการควบคุมเครื่องจักรจัดเตรียมจัดหาวัตถุดิบและการบรรจุโดยถามีขนาดการผลิตประมาณปละ162 ตันจะใชบุคลากรทั้งสิ้น30 คนโดยเปนพนักงานโรงงานประมาณ20 คนและพนักงานในสํานักงานประมาณ10 คน

4. ดานการเงินและการลงทุน

ณการผลิต162 ตัน/ป ตองใชเงินลงทุนประมาณ17.5 ลานบาทโดยเปนเงินลงทุนในสินทรัพยถาวร(อาคารเครื่องจักร) ประมาณ14 ลานบาทหรือ80% ของเงินลงทุนและเปนเงินทุนหมุนเวียนประมาณ3,500,000 บาทหรือ20% ของเงินลงทุน

คาใชจายในการดําเนินงานของกิจการผลิตมะนาวผงนั้นประมาณ62-65 % ของคาใชจายอยู่ในด้านของตนทุนการผลิต(วัตถุดิบคาสาธารณูปโภคคาเสื่อมราคาเครื่องจักรและหีบหอ) สวนคาใชจายดานการตลาดและการขายคิดเป็นประมาณ35-38% ของคาใชจายทั้งหมด

ในดานของคาใชจายหรือตนทุนในการผลิตมะนาวผงนั้นประกอบดวยตนทุนดานวัตถุดิบประมาณ48% (นํ้ามะนาว31% และมอลโตเดกซตริน17%)และตนทุนดานอื่นๆ52% คาดการณกําไรเฉลี่ยในการจําหนายมะนาวผงอยู ณระดับ10% ของยอดขายทั้งหมด

  • โครงสรางตนทุนในการผลิต

การผลิตมะนาวผงมีโครงสรางตนทุนในการผลิตดังนี้

ภาคผนวก : มะนาวแปรรูป (มะนาวผง)

1. หนวยงานที่ใหการสนับสนุนดานเทคโนโลยีการผลิต

- สถาบันคนควาและพัฒนาผลิตภัณฑอาหาร Tel : 0-2242-8631, 0-2942-8630-2

- กรมวิทยาศาสตรบริการTel : 0-2201-7001, 0-2201-7000

- สถาบันอาหารTel : 0-2886-8088, 0-2886-8103

- สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทยTel : 0-2579-1121-2

CA International Information Co.,Ltd.หน้า1จาก12