Program Description

Animal Care and Use Program

Program Unit Name

Parent Organization

Address

For

AAALAC International

Date of Submission

2/11

Table of Contents

Section 1. Introduction 1

Section 2. Description 4

I. Animal Care and Use Program 4

A. Program Management 4

1. Program Management Responsibility 4

a. The Institutional Official 4

b. The Attending Veterinarian 4

c. Collaborations 4

2. Personnel Management 4

a. Training and Education 4

i. Veterinary and Other Professional Staff 5

ii. Animal Care Personnel 5

iii. The Research Team 5

b. Occupational Health and Safety of Personnel 6

i. Hazard Identification and Risk Assessment 6

ii. Facilities, Equipment and Monitoring 6

iii. Personnel Training 7

iv. Personal Hygiene 8

v. Animal Experimentation Involving Hazards 8

vi. Personal Protection 9

vii. Medical Evaluation and Preventive Medicine for Personnel 10

c. Investigating and Reporting Animal Welfare Concerns 10

B. Program Oversight 10

1. The Role of the IACUC/OB 11

a. IACUC/OB Composition and Function 11

b. Protocol Review 11

c. Special Considerations for IACUC/OB Review 11

i. Experimental and Humane Endpoints 11

ii. Unexpected Outcomes that Affect Animal Well-being 12

iii. Physical Restraint 12

iv. Multiple Survival Surgical Procedures 12

v. Food and Fluid Regulation 13

vi. Use of Non-Pharmaceutical-Grade Drugs and Other Substances 13

vii. Field Investigations 13

viii. Agricultural Animals 13

ix. Animal Reuse 14

2. Post-Approval Monitoring 14

II. Animal Environment, Housing and Management 14

A. Animal Environment 14

1. Temperature and Humidity 14

2. Ventilation and Air Quality 15

3. Life Support Systems for Aquatic Species 15

4. Noise and Vibration 16

B. Animal Housing (All terrestrial, flighted, and aquatic species) 16

1. Primary Enclosures 16

2. Environmental Enrichment, Social and Behavioral Management 16

a. Enrichment 16

b. Social Environment 17

c. Procedural Habituation and Training of Animals 17

d. Enrichment, Social and Behavioral Management Program Review 17

e. Sheltered or Outdoor Housing 17

f. Naturalistic Environments 18

C. Animal Facility Management 18

1. Husbandry 18

a. Food 18

b. Drinking Water 19

c. Bedding and Nesting Materials 19

d. Miscellaneous Animal Care and Use Equipment 20

e. Sanitation 20

f. Waste Disposal 21

g. Pest Control 21

h. Emergency, Weekend and Holiday Care 22

2. Population Management 22

a. Identification 22

b. Record Keeping 22

c. Breeding, Genetics and Nomenclature 22

III. Veterinary Care 23

A. Animal Procurement and Transportation 23

1. Animal Procurement 23

2. Transportation of Animals 23

B. Preventive Medicine 23

1. Animal Biosecurity 23

2. Quarantine and Stabilization 23

3. Separation by Health Status and Species 24

4. Surveillance, Diagnosis, Treatment and Control of Disease 24

C. Clinical Care and Management 25

1. Emergency Care 25

2. Clinical Record keeping 25

3. Diagnostic Resources 25

4. Drug Storage and Control 26

D. Surgery 26

1. Pre-Surgical Planning 26

2. Surgical Facilities 26

3. Surgical Procedures 27

4. Aseptic Technique 27

5. Intraoperative Monitoring 27

6. Postoperative Care 27

E. Pain and Distress 28

F. Anesthesia and Analgesia 28

G. Euthanasia 29

IV. Physical Plant 29

A. Location and Construction Guidelines 29

B. Functional Areas and Operations 30

1. Heating, Ventilation, and Air-Conditioning (HVAC) 30

2. Power and Lighting 30

3. System Malfunctions 31

4. Storage Areas 31

5. Facilities for Sanitizing Materials 31

C. Special Facilities 31

1. Specialized Types of Animal Housing 32

2. Surgery 32

3. Other Specialized Animal Use Facilities 32

4. Other Animal Support Facilities 32

D. Security and Access Control 32

Appendices

1.  Organizational Chart(s)

2.  Animal Usage Form A or B

3.  Summary of Animal Housing and Support Sites

4.  Line Drawings

5.  Medical Evaluation Form

6.  IACUC/OB Membership Roster

7.  Blank IACUC/OB Protocol Form

8.  IACUC/OB Minutes

9.  IACUC/OB Periodic Report

10.  Heating, Ventilation and Air Conditioning (HVAC) System Summary

11.  Aquatic Systems Summary

12.  Primary Enclosures and Animal Space Provisions

13.  Cleaning and Disinfection of the Micro- and Macro-Environment

iii 2/11

Program Description

รายละเอียดโปรแกรม

Link to Instructions for Completing and Submitting the Program Description for the Institutional Animal Care and Use Program

คลิกที่นี่เพื่อดูคำแนะนำการกรอกและเสนอเอกสารรายละเอียดโปรแกรมสำหรับโปรแกรมการดูแลและการใช้สัตว์

Section 1. Introduction

ตอนที่ 1. บทนำ

A. State the name of the program unit and, if applicable, its parent organization. List all organizations (schools, centers, etc.) included within the program unit.

กรอกชื่อของหน่วยงาน และถ้ามี ให้ระบุชื่อของหน่วยงานต้นสังกัด แจกแจงองค์กรทั้งหมด (โรงเรียน ศูนย์ ฯลฯ) ที่มีอยู่ในหน่วยงาน

B. Give a brief overview of the institution, its purpose and how the animal care and use program relates to the mission of the institution.

กล่าวถึงภาพรวมของสถาบัน วัตถุประสงค์ของสถาบัน และบอกว่าโปรแกรมการดูแลและใช้สัตว์มีความเกี่ยวพันกับพันธกิจของสถาบันอย่างไร

C. Note that AAALAC International’s three primary standards are the Guide for the Care and Use of Laboratory Animals (Guide), NRC, 2011; the Guide for the Care and Use of Agricultural Animals in Research and Teaching (Ag Guide), FASS 2010, and the European Convention for the Protection of Vertebrate Animals Used for Experimental and Other Scientific Purposes, Council of Europe (ETS 123). Other regulations and guidelines used (U.S. Department of Agriculture (USDA), Public Health Service (PHS) Policy, Good Laboratory Practice (GLP), Canadian Council on Animal Care (CCAC), etc.) may also apply. Describe which of the three primary standards and other regulations and guidelines are used as standards for the institutional animal care and use program and how they are applied. For example, an academic institution in the United States with an Office of Laboratory Animal Welfare (OLAW) Assurance may use the standards of the Guide and PHS Policy for all animals, the Animal Welfare Act regulations for covered species, and the Ag Guide for agricultural animals used in agricultural research and teaching. In the European Union, the standards applied might be the Guide, ETS 123, Directive 2010/63, and any country-specific regulations.

ขอแจ้งว่าสามมาตรฐานหลักของสมาคมฯ ได้แก่ ข้อแนะนำการดูแลและการใช้สัตว์ทดลอง (Guide) ของสภาวิจัยแห่งชาติ ปี 2011 ข้อแนะนำสำหรับการดูแลและการใช้สัตว์เกษตรในการวิจัยและการสอน (Ag Guide) ของสมาพันธ์แห่งสมาคมสัตวศาสตร์ ปี 2010 และอนุสัญญายุโรปว่าด้วยการคุ้มครองสัตว์มีกระดูกสันหลังที่ใช้สำหรับการทดลองและเพื่อวัตถุประสงค์อื่นๆ ทางวิทยาศาสตร์ของสภาแห่งยุโรป (ETS 123) อาจเกี่ยวข้องกับกฎระเบียบและบรรทัดฐานอื่นๆ ที่บังคับใช้โดย (กระทรวงเกษตรแห่งสหรัฐฯ (USDA) สำนักงานบริการสาธารณสุขของสหรัฐฯ (PHS) กฎการปฏิบัติอย่างดีสำหรับห้องปฏิบัติการ (GLP) สภาการดูแลสัตว์แห่งแคนาดา (CCAC) ฯลฯ) ต้องระบุว่าใช้มาตรฐานฉบับใดของสามมาตรฐานหลักของสมาคมฯ และกฎระเบียบและใช้บรรทัดฐานอื่นใดเป็นมาตรฐานสำหรับโปรแกรมการดูแลและการใช้สัตว์ของสถาบัน และนำมาตรฐานเหล่านี้ไปใช้อย่างไร ตัวอย่างเช่น สถาบันการศึกษาแห่งหนึ่งในสหรัฐฯ ที่ได้ให้หนังสือรับรองไว้กับสำนักงานสวัสดิภาพสัตว์ อาจใช้มาตรฐานต่างๆ ของ Guide และ นโยบายของสำนักงานบริการสาธารณสุขสำหรับสัตว์ทุกชนิด ปฏิบัติตามกฏข้อบังคับของกฎหมายสวัสดิภาพสัตว์สำหรับสัตว์ที่ควบคุม และใช้ Ag Guide กับการวิจัยและการสอนที่ทำในสัตว์เกษตร ในประเทศสมาชิกสหภาพยุโรปอาจใช้มาตรฐาน ได้แก่ Guide, ETS 123, Directive 2010/63 และกฎข้อบังคับเฉพาะต่างๆ ของแต่ละประเทศ

D. Describe the organization and include an organizational chart or charts (as an Appendix/Appendices) detailing the lines of authority from the Institutional Official to the Attending Veterinarian, the Institutional Animal Care and Use Committee/Oversight Body (IACUC/OB), and the personnel providing animal care. Please include the title, name (Note: For individuals whose information is publically available, provide the titles and names; for individuals whose information is not publically available, you may provide titles only.), and degree (if applicable) of each individual at the level of supervisor or above. Names of animal care staff below the title of supervisor need not be included, but the titles and number of animal care personnel under each supervisor should be included. If animal care responsibility is administratively decentralized, the

organizational chart or charts must include all animal care programs, indicating the relationship between each administrative unit and personnel, the Attending Veterinarian, and the Institutional Official.

อธิบายลักษณะขององค์กร และแสดงแผนภูมิขององค์กร หรือแผนผัง (ในภาคผนวก/เอกสารแนบ) ที่มีรายละเอียดตามอำนาจรับผิดชอบ ตั้งแต่ผู้บริหารสูงสุดของสถาบันไปยังสัตวแพทย์ผู้รับผิดชอบ คณะกรรมการการดูแลและการใช้สัตว์ของสถาบัน/คณะผู้กำกับดูแลที่เทียบเท่ากันของหน่วยงาน (IACUC/OB) และบุคลากรผู้ให้การดูแลสัตว์ กรุณาระบุตำแหน่ง ชื่อ (ข้อสังเกต: สำหรับบุคลากรผู้ที่ข้อมูลของพวกเขาเป็นที่เปิดเผยต่อสาธารณะ ควรแสดงทั้งตำแหน่งและชื่อ สำหรับบุคลากรผู้ที่ข้อมูลของพวกเขาไม่เปิดเผยต่อสาธารณะ ท่านอาจแสดงเฉพาะตำแหน่งเท่านั้น) และปริญญา (ถ้ามี) ของแต่ละท่านที่มีตำแหน่งตั้งแต่ตำแหน่งหัวหน้างานหรือสูงกว่า ไม่ต้องแสดงชื่อของพนักงานดูแลสัตว์ที่อยู่ต่ำกว่าตำแหน่งหัวหน้างาน แต่ต้องแสดงตำแหน่งและจำนวนของพนักงานดูแลสัตว์ที่อยู่ใต้บังคับบัญชาของหัวหน้างานแต่ละท่าน ถ้าความรับผิดชอบการดูแลสัตว์ถูกบริหารแยกออกจากส่วนกลาง แผนภูมิขององค์กร หรือแผนผังต้องแสดงโปรแกรมการดูแลสัตว์ทั้งหมด โดยระบุความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยบริหารแต่ละหน่วยและบุคลากร สัตวแพทย์ผู้รับผิดชอบและผู้บริหารสูงสุดของสถาบัน

E. Identify the key institutional representatives (including, but not limited to, the Institutional Official; IACUC/OB Chairperson; Attending Veterinarian; animal program manager; individual(s) providing biosafety, chemical hazard, and radiation safety oversight; etc.); and individuals anticipated to participate in the site visit.

ระบุผู้แทนหลักของสถาบัน (ได้แก่ ผู้บริหารสูงสุดของสถาบัน ประธานของ IACUC/OB สัตวแพทย์ ผู้จัดการโปรแกรมสัตว์ บุคคลหรือบุคลากรผู้รับผิดชอบด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ ภัยทางเคมี และทางรังสีวิทยา ฯลฯ อาจแสดงผู้รับผิดชอบมากกว่านี้ได้) และบุคลากรที่คาดการณ์ว่าจะมีส่วนร่วมในการเยี่ยมพื้นที่

F. Briefly describe the major types of research, testing, and teaching programs involving animals and note the approximate number of principal investigators and protocols involving the use of animals. As mentioned in the instructions, please complete one of the animal use forms included with this outline or provide the information requested in a similar format as an appendix.

อธิบายประเภทหลักต่างๆ ของโปรแกรมการวิจัย การทดสอบและการสอนที่เกี่ยวกับสัตว์ และให้ข้อสังเกตเรื่องจำนวนโดยประมาณของนักวิจัยหลักและโปรโตคอลที่เกี่ยวกับการใช้สัตว์ ตามที่ได้กล่าวถึงในคำแนะนำ กรุณากรอกข้อมูลลงในหนึ่งแบบฟอร์มการใช้สัตว์ตามเค้าโครงที่แนบให้มานี้อย่างครบถ้วน หรือให้ข้อมูลตามที่ขอในรูปแบบเช่นเดียวกันโดยแนบเป็นภาคผนวก

G. Note the source(s) of research funding (grants, contracts, etc.) involving the use of animals.

แสดงแหล่ง (ต่างๆ) ของงบประมาณการวิจัย (เงินทุน สัญญา ฯลฯ) ที่เกี่ยวข้องกับการใช้สัตว์

H. List other units (divisions, institutes, areas, departments, colleges, etc.) of your organization that house and use animals that are not included in this Description. If any of these are contiguous, physically or operationally (e.g., same IACUC/OB, same animal care staff), with the applicant unit, describe the association. Explain why such units are not part of this program application.

แสดงหน่วยงานอื่นๆ (แผนก สถาบัน บริเวณ ภาควิชา วิทยาลัย ฯลฯ) ขององค์กรของท่านที่เลี้ยงและใช้สัตว์ซึ่งไม่ได้รวมอยู่ในรายละเอียดโปรแกรมฉบับนี้ ถ้าหน่วยหนึ่งใดของหน่วยเหล่านี้มีที่ตั้งอยู่ชิดติดกันโดยทางกายภาพ หรือโดยการบริหาร (เช่น มี IACUC/OB ชุดเดียวกัน ใช้พนักงานผู้ดูแลสัตว์ร่วมกัน) กับหน่วยงานที่สมัครขอรับรองมาตรฐาน ต้องอธิบายความเกี่ยวข้องนี้ อธิบายว่าทำไมหน่วยงานดังกล่าวเหล่านี้จึงไม่เป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรมที่สมัครนี้

I. Contract Facilities: If the institution contracts for animal care facilities or services for animals owned by the institution, the contractor and its AAALAC International accreditation status must be identified. If a contractor's animal care and use program is not accredited by AAALAC International, a brief description, following this Program Description outline, of the relevant contractor's programs and facilities must be provided. In addition, the species and approximate average number of animals housed in the contract facilities and the approximate distance between the institution's animal facility and the contract facility must be noted. Incorporation of the contractor program into the site visit schedule will be discussed with institutional representatives. If the institution does not contract for animal care facilities or services, so note.

สถานที่ของคู่สัญญา: ถ้าสถาบันทำสัญญาสำหรับสถานที่ดูแลสัตว์หรือบริการสำหรับสัตว์โดยที่สถาบันเป็นเจ้าของสัตว์ ต้องระบุถึงคู่สัญญาและสถานะภาพของการได้รับการรับรองมาตรฐานสากลจาก AAALAC International ของคู่สัญญา ถ้าโปรแกรมการดูแลและใช้สัตว์ของคู่สัญญาไม่ได้รับการรับรองมาตรฐานสากลจาก AAALAC International ท่านต้องอธิบายโปรแกรมและสถานที่ของคู่สัญญาแต่ละข้อตามเค้าโครงของรายละเอียดโปรแกรม นอกจากนี้ท่านต้องกล่าวถึงชนิดและจำนวนของสัตว์โดยประมาณที่เลี้ยงอยู่ในสถานที่ตามสัญญา และระยะทางระหว่างอาคารเลี้ยงสัตว์ของสถาบันของท่านกับสถานที่ตามสัญญา ตัวแทนของสถาบันของท่านต้องเพิ่มโปรแกรมตามสัญญาเข้าไปในกำหนดการเยี่ยมพื้นที่ ให้ระบุด้วยถ้าสถาบันไม่มีการทำสัญญาสำหรับสถานที่หรือบริการสำหรับการดูแลสัตว์หรือบริการใด

J. Note other relevant background that will assist reviewers of this report.

กล่าวถึงเรื่องพื้นฐานอื่นที่เกี่ยวข้องที่จะสนับสนุนผู้ทบทวนรายงานฉบับนี้

52 2/11

Section 2. Description

ตอนที่ 2. บทพรรณนา

I. Animal Care and Use Program โปรแกรมการดูแลและใช้สัตว์

A. Program Management การจัดการโปรแกรม

1. Program Management Responsibility ความรับผิดชอบในการจัดการโปรแกรม [Guide, p. 13-15]

a. The Institutional Official ผู้บริหารสูงสุดของสถาบัน [Guide p. 13-14]

Describe how program needs are clearly and regularly communicated to the Institutional Official by the Attending Veterinarian, IACUC/OB, and others associated with the program.

อธิบายว่าสัตวแพทย์ผู้รับผิดชอบ IACUC/OB และบุคลากรท่านอื่นที่เกี่ยวข้องติดต่อประสานงานไปยังผู้บริหารสูงสุดอย่างชัดเจนและเป็นประจำได้อย่างไร เพื่อตอบสนองความจำเป็นต่างๆ ของโปรแกรม

b. The Attending Veterinarian สัตวแพทย์ผู้รับผิดชอบ [Guide, p. 14]

i. Describe the institutional arrangement for providing adequate veterinary care. For each veterinarian associated with the program (including private practitioners), provide the veterinarian's name(s), list responsibilities, and how the veterinarian is involved in monitoring the care and use of laboratory animals. If employed fulltime by the institution, note the percentage of time devoted to supporting the animal care and use program of the institution. If employed part-time or as a consultant, note the frequency and duration of visits.

อธิบายการเตรียมการของสถาบันเพื่อให้การดูแลโดยสัตวแพทย์อย่างพอเพียง ให้กล่าวถึงสัตวแพทย์แต่ละท่านที่เกี่ยวข้องกับโปรแกรม (รวมทั้งสัตวแพทย์ผู้ทำงานเป็นเอกชน) ระบุชื่อสัตวแพทย์ ให้แสดงรายการความรับผิดชอบ และอธิบายว่าท่านเกี่ยวข้องในการควบคุมการดูแลและการใช้สัตว์ทดลองได้อย่างไร ถ้าท่านทำงานเต็มเวลาให้กับสถาบันให้ระบุร้อยละของเวลาที่ให้กับการสนับสนุนโปรแกรมการดูแลและการเลี้ยงสัตว์ของสถาบัน ถ้าท่านทำงานบางเวลาให้กับสถาบันหรือเป็นที่ปรึกษาให้ระบุความถี่การมาเยี่ยมและเวลาที่ให้กับสถาบัน

ii. List others (e.g., Principal Investigators, veterinarians serving as Principal Investigators, veterinary faculty/staff, technical staff, farm managers) who have a direct role in the provision of veterinary care and describe their responsibilities. An organizational chart depicting the reporting relationship between these individuals and the Attending Veterinarian should be included as an appendix.

แจงบุคลากรท่านอื่นๆ (เช่น นักวิจัยหลัก สัตวแพทย์ผู้เป็นนักวิจัยหลัก เจ้าหน้าที่/พนักงานผู้เป็นสัตวแพทย์ นักเทคนิค ผู้จัดการฟาร์ม) ผู้มีบทบาทโดยตรงในการให้การดูแลทางสัตวแพทย์ และอธิบายความรับผิดชอบของพวกเขา ควรแนบแผนภูมิขององค์กรที่แสดงความสัมพันธ์ของการรายงานระหว่างท่านเหล่านี้กับสัตวแพทย์ผู้รับผิดชอบ

c. Collaborations การร่วมมือกัน [Guide, p. 15]

Describe processes for assigning animal care and use responsibility, animal ownership and IACUC/OB oversight responsibilities at off-site locations (i.e., collaborations).

อธิบายกระบวนการสำหรับการมอบหมายความรับผิดชอบการดูแลและการใช้สัตว์ ความเป็นเจ้าของสัตว์ และความรับผิดชอบการสอดส่องดูแลต่างๆ ของ IACUC/OB นอกสถานที่ (เช่น เมื่อมีการทำงานร่วมกับสถาบันอื่น)

2. Personnel Management การจัดการบุคลากร

a. Training and Education การฝึกอบรมและการให้การศึกษา

Describe how the IACUC/OB provides oversight and evaluates the effectiveness of training programs. Describe how training is documented.

อธิบายว่า IACUC/OB ให้การกำกับดูแลและประเมินประสิทธิภาพของโปรแกรมการฝึกอบรมต่างๆ ได้อย่างไร อธิบายถึงการเก็บเอกสารบันทึกการฝึกอบรม

i. Veterinary and Other Professional Staff บุคลากรทางทางสัตวแพทย์และผู้เป็นมืออาชีพท่านอื่นๆ [Guide, pp. 15-16]

Provide name and credentials of veterinary and other professional staff, including the veterinary personnel listed above, and describe their qualifications, training, and continuing education. Please do not provide curriculum vitae of personnel.

ให้ชื่อ คุณสมบัติทางการศึกษาของบุคลากรทางทางสัตวแพทย์และผู้เป็นมืออาชีพท่านอื่นๆ รวมทั้งบุคลากรทางทางสัตวแพทย์ที่ได้กล่าวถึงก่อนหน้านี้ และอธิบายคุณวุฒิเพิ่มเติมของท่าน การฝึกอบรมและการศึกษาต่อเนื่อง ไม่ต้องแนบประวัติย่อของบุคลากร

ii. Animal Care Personnel บุคลากรผู้ดูแลสัตว์ [Guide, p. 16]

Indicate the number of animal care personnel. ____

บอกจำนวนของเจ้าหน้าที่ดูแลสัตว์ว่ามีกี่คน ____

Summarize their training, certification level and type, experience, and continuing education opportunities provided.

สรุปการฝึกอบรม ระดับและชนิดของประกาศนียบัตร ประสบการณ์ และโอกาสการศึกษาต่อเนื่องที่ได้จัดให้มี

iii. The Research Team ทีมงานวิจัย [Guide, pp. 16-17; 115-116; 122; 124]

1) Describe the general mechanisms, by which the institution or IACUC/OB ensures that research personnel have the necessary knowledge and expertise in the animal procedures proposed and the species used.

อธิบายกลไกทั่วๆ ไปของสถาบันหรือโดย IACUC/OB เพื่อประกันว่าบุคลากรด้านการวิจัยมีความรู้ตามที่จำเป็นและมีความเชี่ยวชาญในวิธีการดำเนินการที่ได้เสนอมาและกับสัตว์ชนิดที่ใช้

a) Briefly describe the content of any required training.

อธิบายโดยย่อถึงหัวข้อของการฝึกอบรมที่จัดให้มี

b) Describe the timing of training requirements relative to the commencement of work.

อธิบายถึงการกำหนดระยะเวลาของการฝึกอบรมที่มีซึ่งมีความสัมพันธ์กับการเริ่มต้นการทำงาน

c) Describe continuing education opportunities offered.

อธิบายการให้โอกาสการศึกษาต่อเนื่อง

2) Describe the process(es) to ensure surgical and related procedures are performed by qualified and trained personnel. Who determines that personnel are qualified and trained for surgical procedures? What role does the Attending Veterinarian and IACUC/OB have in this determination? [Guide, pp. 115-116]

อธิบายกระบวนการเพื่อประกันว่าผู้ทำศัลยกรรมและวิธีดำเนินการที่เกี่ยวข้องต่างๆ มีคุณสมบัติและได้รับการฝึกอบรมเหมาะสม ระบุว่าใครเป็นผู้พิจารณาว่าบุคลากรมีคุณสมบัติและได้รับการฝึกอบรมสำหรับการทำปฏิบัติทางศัลยกรรม สัตวแพทย์ผู้รับผิดชอบและIACUC/OB มีบทบาทในการพิจารณาเรื่องนี้อย่างไร [Guide, หน้า 115-116]

3) Describe the training and experience required to perform anesthesia. อธิบายการฝึกอบรมและประสบการณ์ที่กำหนดเพื่อทำการวางยาสลบ [Guide, p. 122]

4) Describe how the proficiency of personnel conducting euthanasia is ensured (especially physical methods of euthanasia). [Guide, p. 124]

อธิบายการประกันประสิทธิภาพของการทำการุณยฆาต (โดยเฉพาะอย่างยิ่งการการุณยฆาตด้วยวิธีกายภาพ) [Guide, หน้า 124]

b. Occupational Health and Safety of Personnel อาชีวอนามัยและความปลอดภัยของบุคลากร [Guide, pp. 17-23]

Describe the institutional entities that are involved in the planning, oversight, and operation of the institutional occupational health and safety program.

อธิบายสิ่งต่างๆ ที่สถาบันมีอยู่ซึ่งเกี่ยวข้องกับการวางแผน การกำกับดูแลและการบริหารงานของโปรแกรมอาชีวอนามัยและความปลอดภัยของบุคลากร

i. Hazard Identification and Risk Assessment [Guide, pp. 18-19; See also Chapters 2 and 3 in Occupational Health and Safety in the Care and Use of Research Animals, NRC 1997]

การระบุภัยและการประเมินความเสี่ยง [Guide, หน้า 18-19; ให้ดูบทที่ 2 และ3 ของหนังสืออาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการใช้สัตว์ทดลอง, NRC 1997 ด้วย]

1) Describe the process used to identify, evaluate and control experimental and other potential hazards (such as ionizing and non-ionizing radiation, chemical cleaning agents, animal bites, allergens, zoonoses, and venomous species) inherent or intrinsic to the use of animals by the institution. Describe how risks of these hazards are assessed and how procedures are developed to manage the risks.

อธิบายกระบวนการที่ใช้ระบุ ประเมิน และควบคุมภัยจากการทดลองและภัยต่างๆ ที่อาจมีอยู่ (เช่น รังสีชนิดที่กระจายตัวได้และไม่กระจายตัว สารเคมีสำหรับทำความสะอาดต่างๆ การถูกสัตว์กัด สารก่อภูมิแพ้ต่างๆ โรคสัตว์ติดคนและสัตว์มีพิษต่างๆ) ที่มีอยู่ในตัวสัตว์หรือมีอยู่ในการใช้สัตว์ของสถาบัน อธิบายว่าประเมินความเสี่ยงของภัยเหล่านี้ทำได้อย่างไร และพัฒนาวิธีดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงทำอย่างไร

2) Describe procedures for reporting and evaluating exposure to hazards, work place injuries, etc.

อธิบายวิธีดำเนินการในการรายงานและการประเมินการถูกคุกคามจากภัย และการบาดเจ็บในที่ทำงานต่างๆ ฯลฯ

ii. Facilities, Equipment and Monitoring สถานที่ อุปกรณ์ และการตรวจสอบ [Guide, pp. 19-20]

1) Describe how hazardous agents are contained within the study environment and in the animal housing area.

อธิบายว่าสารอันตรายต่างๆ ถูกกักเก็บภายในสภาพแวดล้อมการทดลองและในสถานที่เลี้ยงสัตว์ได้อย่างไร

2) Describe facilities that use hazardous agents. Note square feet/meters, number of animal rooms, and support spaces. In addition, describe design features, construction features, and special equipment, especially as they relate to hazard containment. Note if, and how, exhaust air is treated. If special facilities are not available and animals exposed to hazardous agents are housed within conventional animal rooms, so note.